smile

my blogget wipawan.

วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555










คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
นางสาววิภาวรรณ  จันทร  รหัสนักศึกษา 554101024  ภาษไทยปี 1
ความหมายของคอมพิวเตอร์ :  เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วย คำสั่ง ชุดทำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกับเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ
ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือ มีศักยภาพสูง


ความหมายของสารสนเทศ

สารสนเทศหมายความว่าข่าวสารที่สำคัญเป็นระบบข่าวสารสารสนเทศตรงกับคำใดภาษาอังกฤษว่า Entormtioหมายถึงความรู้ที่ได้จากการค้นคว้าสารสนเทศเป็นความรู้และข่าวสารที่สำคัญที่มีลักษณะพิเศษทั้งในด้านการได้มาและประโยชน์ในการนำไปใช้และปฎิบัติ

 สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลทั้งด้านปริมาณและด้านคุณภาพที่ประมวลวัดหมวดหมู่เปรียบเทียบและวิเคราะห์แล้วสามารถ นำมาได้หรือนำมาประกอบพิจารณาได้สะดวกว่าและง่ายกว่า

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศหรือไอที (it)เป็นเทคโนโลยีที่มีความสำคัญต่อสังคมในข้อมูลการประมวลผลและการแสดงผลสารสนเทศ

 องค์ประกอบหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 2 ส่วนคือเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยี

คอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นนเทคโนโลยีย่อยสำคัญได้ 2ส่วนคือ ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์


เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์ทุกชนิดที่ีประกอบขั้นเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเพื่อเชื่อมโยงจำแนกตาบหน้าที่การทำงานออกเป็น 4ส่วน คือ

 1 หน่วยรับข้อมูล

2 หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู

3 หน่วยแสดงผลข้อมูล

4 หน่วยความจำสำรอง

 \เทคโนโลยีซอฟแวร์

หมายถึงโปรแกรมหรือกดศาสตร์ที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการ

 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์แบ่ง 2 ประเภท

1.ซอฟแวร์ระบบ

หรือชุดคำสั่งที่ทำให้หน้าที่ทำงาน

2.ซอฟแวร์ประยุกต์ คือ

ชุดคำสั่งที่ผู้ใช้ส่งเขาสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน



ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

-แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 (25202-2524) การที่ส่วนร่วมของสารสนเทศเพื่อการศึกษา

-มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานและปฎิบัติการระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาขึ้น

-ในแผนการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติก็ได้มีการเห็นความสำคัญของเทคโนโลยีเพื่อการศึกษามากขึ้น

๑.มีการจัดทำแผนหลักเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทคเพื่อจักการศึกษา

แผนพัฒนาข้างต้นทำให้เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญต่อวงการศึกษาของประเทศไทยมากขึ้น จะทำให้การศึกษาของชาติมีความเท่าเทียมกันทั้งถึง มีคุณภาพ และมีความต่อเนื่องส่งเสริมการเรียนรู้ โดยการประยุกต์ใช้เทดโนโลยีสารสนเทศอย่างคุ้มค่า



การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

ยุคที่ ๑ ประมวลผลข้อมูล วัตถุประสงค์เพื่อคำนวณและประมวลผล

ยุคที่ ๒ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ มีการใช้คอมพิวเตอร์

ยุคที่ ๓ การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ มีการใช้คอมพิวเตอร์

ยุคที่ ๔ ยุคปัจจุบัน หรือยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (เป็นที่บริการ)



ประโยชน์ของเทคโนโลยี

๑ ให้ความรู้ ทำให้เกิดความคิดความเข้าใจ

๒ ใช้ในการวางแผนการบริหารงาน

๓ ใช้ประกอบการตัดสินใจ

๔ ใช้ควบคุมสถานการณ์หรือเหตุการที่เกิดขึ้น

๕ การบริการงานมีระบบ



รูปแบบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน แบ่งได้ ๖ รูปแบบ

๑ เทคโนโลยีการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียม กล้อง วีดีทัศน์

๒ เทคโนโลยีมีที่ใช้การบันทึกข้อมูล เป็นที่บันทึกต่างๆ เช่น แม่เหล็ก จานแม่เหล็ก จานแสง หรือ วานเลเชอร์



ATM Automatic Teller Machine

๓ เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทั้งฮารด์แวร์ และซอฟต์แวร์

๔ เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล

๕ เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร

๖ เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูลได้แก่ ระบบโทรคมนาคม เช่น โทรทัศน์




การใช้อินเตอร์เน็ต ของนักศึกษาระบดับอุดมศึกษา นศ. ส่วนใหญ่เพื่อความบันเทิง เนื่องจากมีความสะดวกในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ในขณะที่การใช้อินเตอร์เน็ตของ นศ. ส่วนหาความรู้

การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ

การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการค้นหา หรือดึงข้อมูลและสารสนเทศเฉพาะเรื่องที่ผู้ใช้ระบุ แหล่รวบรวมสารสนเทศ ไว้เป็นจำนวนมาก เพื่อประโยชน์ด้านต่างๆ เช่นการศึกษา เป็นต้น

วัตถุประสงค์ในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ

๑ เพื่อทราบถึงรายละเอียดของข้อมูล

๒ เพื่อเพิมประสิทธิภาพในการศึกษาหรือการทำงาน

๓ เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับตนเองและผู้อื่น

๔ เพื่อตรวจสอบข้อมูล

Search Enging หมายถึงโปรแกรมที่ออกแบบมาเป็นเครื่องมือสำหรับใช้ค้นข้อมูลบนเว็บไซต์ต่างๆ

แบ่งออกได้ ๓ ประเภท

๑ อินเด็กเซอร์

๒ ไดเร็กทอรี่

๓ เมตะเสิรซ์

เทคนิคการสืบค้นข้อมูล

๑ บีบประเดินให้แคบลง

๒ การใช้คำที่ใกล้เคียง

๓ การใช้คำหลัก Keyword

๔ หลีกเลี่ยงการใช้ตัวเลข

๕ ใช้เครื่องหมายพวกและลบ

๖ หลีกเลี่ยงภาษาพูด

๗ ใช้ Advanced Search

การสืบค้นโดยใช้ตรรกบูลีน Boolean Word Search

การใช้ตรรกบูลีนเป็นการสืบค้นโดยใช้ตัวเชื่อม ดังนี้

AND เป็นการเชื่อมคำเพื่อกำจัดการสืบค้นให้แคบลงเช่น Labor and amerrican ได้เช่นเดียวกัน

OR เป็นการเชื่อมคำเพื่อขยายค้นไปยังคำอื่นๆ ที่กำหนดหรือต้องการผลการค้นจากคำทั้ง ๒

ลำดับการค้นที่มีการใช้คำเชื่อม Booleam operators

๑ ระบบค้นคำที่อยู่ในวงเล็บก่อน

๒ จากนั้นจึงดำเนินการค้นหาคำทุกคำที่อยู่แล้ว NOT

๓ ลำดับ AND ก่อน รวมถึงคำที่อยู่ใกล้กันแต่ไม่มี AND เชื่อมด้วย

๔ อยู่ระหว่าง OR ทั้งหมด

ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
ฮาดร์แวร์ หมายถึง ส่วนประกอบที่ของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ 5 ส่วนคือ
1. หน่วยรับข้อมูลเข้า Input Unit
-แป้นอักขระ  Keyboard
-แผ่นซีดี  CD-Rom
-ไมโครโพน Mierophone เป็นต้น
2. หน่วยประมวลผลกลาง CPU (Central Processing Unit)
     ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวนที่ทำทางตรรกะและคณิตศาสตร์
รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
3. หน่วยความจำ Memory Unit
    ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล
เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลว่าหน่วยประมวลผลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
แล้วเตรียมส่งไปย้ายหน่วยแสดงผล
4. หน่วยแสดงผล Output Unit
         ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการประมวลผล หรือผ่านการคำนวลแล้ว
5. อุปกรณต่อฟังก์ชั่น Peripheral Equipment
     เป็นอุปปกรณ์ที่นำมาต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้นเช่น โมเดิม (Modem)
แผงวงจรเชื่อมต่อกับเครือข่าย

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1. มีความเร็วในการทำงาน
2. มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง
3. มีความถูกต้องแม่นยำ
4. เก็บข้อมูลได้มาก
5. สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีก้ครื่องหนึ่งได้

ระบบคอมพิวเตอร์
  ระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆ กับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ
ที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช่งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี
ระบบทะเบียนราษฎร์

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
1. ฮาร์ดแวร์
2. ซอฟแวร์
3. ข้อมูล
4. บุคคลากร

ฮาร์ดแวร์  ส่วนที่สำคับ  4 ส่วน
1. ส่วนประมวลผล
2. ส่วนความจำ
3. อุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก
4. อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล

CPU ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
แปลข้อมูลดิบ และนำกับมาใช่ได้ประโยชน์
1 GHz จิกะเฮิร์ดซ์

ส่วนที่ 2   หน่วยความจำ  Memory
จำแนกออกเป็น 3 ประเภท
1. หน่วยความจำหลัก
2. หน่วยความจำลอง
3. หน่วยเก็บข้อมูล

1. หน่วยความจำหลัก  แบ่งได้ 2
1.1 หน่วยความจำแบบ "แรม"
     RAM = Random Access Memory
  ต้องการไฟฟ้าในการจัดเจ็บข้อมูลจนกว่าเราจะเปิดเครื่อง
1.2 หน่วยความจำแบบ "รอบ"
     ROM = Read only Memory
เป็นหน่วยความจำแบบที่ไม่ลบเลือน

2. หน่วยความจำสำรอง
  มีไว้สำหลับสำรอง เช่น Herd Disk   CD-Rom   Floppy Disk
1. ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2. ใช้ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
3. ใช้เป็นสื่อในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งได้

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 หน่วยความจำรองจะช่วนแก้ปัญหาการสวูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะ
ข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลับประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูยหายจึงจำเป็นที่จะต้องมีความจำแบบสำรองเพื่อเก็บข้อมูลไว้ใช้งานในครั้งต่อไป เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก

ส่วนที่แสดงผลข้อมูล
 คือ ส่วนที่แสดงข้อมูฃลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูป
แบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (monitor)
(เครื่องพิมพ์) printer

บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ peopleware
หมายถึง การที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์
เป็นไปอย่างราบรื่น

ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์
1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ

บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์
2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์
5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล

นักวิเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษาระบบงานเดิมออกแบบระบบงานใหม่

โปรแกรมเมอร์
 นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม

วิศวกรระบบ
  ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมบำรุงและดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ

พนักงานปฎิบัติการ
  ทำหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่หรือ ภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์

แบ่งประเภทการจัดการระบบ 4 ระดับ
1. ผู้จัดการระบบ
2. นักวิเคราะห์ระบบ
3. โปรแกรมเมอร์
4. ผู้ใช้ User

ซอฟตืแวร์
คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์

หน้าที่ของซอพต์แวร์
หำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถ
ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย

ประเภทของซอฟต์แวร์  3 ประเภทใหญ่ๆๆ ได้แก่
1. ซอฟต์ระบบ
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
3. ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ หน่วยงาน

หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ
1. ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก
เช่น รับรู้การกดแป้นต่างๆๆบนแผ่นแป้นอักขระ
2. ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ
3. ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง เช่น การขอดูรายการในระบบ

ประเภทของซอฟต์แวร์
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ระบบปฏิบัติการ
2. ตัวแปลภาษา ต้องอาศัยซอฟต์ระบบสูง เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย
 ภาษาได้แก่ Basic pascal c และโลโก้ เอาพวกนี้ไปแปลเป็นภาษาเครื่องให้เรารู้เรื่อง

1. ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อๆว่า โอเอส
 Operating System : OS

ซอฟต์แวร์ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์
  เครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฑิบัติการนี้
ระบบปฎิบัติการนี้นิยมใว้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส  วินโดวส์
ยูนิกซ์  สนุกซ์ และแมดอินทอซ เป็นต้น

1. ดอส Disk Operating System : DOS เป็นซอฟต์แวร์จักการระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้สำหรับเป็นตัวอักษร

2. วินโดวส์  เป้นระบบปฎิบัติการทราพัฒนาต่อจากดอส โดยใช้สามมารถสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้น
แทนแทนการใช้แป้นอักขระ

3. ยูนิกซ์ Unix ถูกใช้ใน มินิคอมพิวเตอร์ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฎิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด Open system

4. ลีนุกซ์ Linux เป็นระบบปฎิบัติการที่พัฒนาการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่าย
โปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยพัฒนา

5.แมดอินทอซ์ Macintosh เป็นระบบปฎิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์

ชนิดของระบบปฎิบัติการ 3 คือ
1. ประเภทใช้งานเดียว Single-tasking
ระบบปฎิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น
2. ประเภทหลายงาน Malti-tashing
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานใช้ขณะเดียวกัน ผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน
3. ประเภทใช้งานหลายคน Multi-User ใช้หน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมหลายคน

ซอฟต์แวร์ประยุกต์
 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองานการจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว๊บไซต์ เป็นต้น

แบ่งไ 2 ประเภท
1.ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ Proprietary   software
2. ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป Packaged software
    มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ Customized Package เช่น โปรแกรมมาตรฐาน ( Standard Package )

แบ่งตามการใช้งาน 3 แบบ
 1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
2. กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมิเดีย Grephic and Multimedia
3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บ Wed and Communications

1. กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ
  ซอฟต์แวร์กลุ่มนั้ ถูกนำมาใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองาน และการบันทึกนัดหมายต่างๆๆ ตัวอย่างเช่น :

โปรแกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft word
sun starOffice writer

โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ microsoft excel

โปรแกรมนำเสนองาน อาทิ  microsoft powerpoint sun steroffice imoress

กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
  ซอฟต์แวร์นี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยการจักการด้านงานกราฟิกและมัล  เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง
วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว๊บไซต์ ตัวอย่างเช่น
 โปรแกรมงานออกแบบ microsoft visio
โปรแกรมตกแต่งภาพ coreIDRAW
โปรแกรมตัดต่อวิดีโอและเสียง Adobe premiere
โปรแกรมสร้างสื่อมัลตอมีเดีย Adobe Authorware Toolbook Instructor
โปรแกรมสร้างเว็บ Adobe Fiash Adobe Dreamweaver

กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
  เมื่อเติบโตของเครือข่ายอิเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น
เช่น โปรแกรมตรวจเซ็ตอีเมล์  การท่องเว็บไซต์ การจัดการดูแลเว็บ และการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย  โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต


ความจำเป้นของการใช้ซอฟต์แวร์
  การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง
ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาสตร์ และทางวิทยาศาสตร์บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล

ซอฟตืแวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
  เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วนในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้องจำเป้นต้องมีสื่อกลาง
 เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุกต์ประกอบด้วย
  ภาษาเครื่อง 
 เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณไฟฟ้าแทนด้วยตัวเลข 0 และ 1
ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลขนี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งคอมพิวเตอร์

ภาษาแอสเซมบลี
 เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุกต์ที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์
  แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษา เครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์

ภาษาระบบสูง
  เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุกต์ที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลีกษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากระบบสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่ 2 ชนิด ด้วยกัน
คือ คอมไพเลอร์ และ อนเทอร์พรีเตอร์

คอมไพเลอร์
 จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น

อินเทอร์พรีเตอร์
 จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำคามคำสั่ง
เมื่อเส็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป

ระบบเครือค่าย
มีองค์ประกอบใหญ่ 3 แบบ
1 ฮาร์ดแวร์  แยกได้ คอมพิวเตอร์ เซอร์เวอร์ ฮับ บริดจ์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ โมเดม เน็ตเวอร์กการ์ด
2. ซอฟต์แวร์ แยกได้ โปรแกรมปฏิบัติการ  โปรแกรมประยุคต์
3. ตัวนำข้อมูล แยกได้ สายโคแอกเชียล สายคู่บิดเกลียวหุ้มฉนวน สายคู่บิดเกลียวไม่หุ้มฉนวน ใยแก้วนำแสง

การทำงานของระบบ Network และ Internet
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. เครือข่ายเฉพาะที่ LAN
  เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่ยมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN
จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆ กัน เช่น อยู่ภายในอาคาร หรือหน่วยงานเดียวกัน
 2. เครือข่ายเมือง MAN
     เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง เช่น ในเมืองเดียวกัน เป็นต้น

3. เครือข่ายบริเวณกว้าง MAN
   เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ โดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และ WAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียว ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงครอบคลุมพื้นที่กว้าง  ไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลก เรียก อินเตอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ

 รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย
   การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 4 คือ
1. เครือข่ายแบบดาว
2. เครือข่ายแบบวงแหวน
3. เครือข่ายแบบบัส
4. เครือข่ายแบบต้นไม้

1. แบบดาว เป็นแบบเชื่อมต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสายระหว่างสถานนีจะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจร

ลักษณะการทำงานของเครือข่ายแบบดาว
เป็นการเชื่อมต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปแบบดาว โดยมัสถานนีกลาง หรือฮับ เป็นจุดผ่านการติดต่อกันระหว่างทุกโหนดในเครือข่าย
สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์กลางจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกเด้วย การสื่อภายในมี 2 ทิศ โดยอนุญาติเพียงโหนดเดียว จึงไมมีโอกาสส่งข้อมูลหลายโหนดได้ เพื่อป้องกันการชนกันของสัญญาณข้อมูล อีกแบบหนึงคือแบบที่ใช้ในปัจจุบัน

2. แบบวงแหวน  เป็นสถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครื่องขยายสัญญาณของตัวเองโดยมีการเชื่อมโยงของสัญญาณเหล่านี้ หน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้าและส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องศัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ป็นของสถานีใด

3. แบบเครือข่ายแบบบัส
  เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยเคเบิ้ลยาว
ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ โดยจะมีอุปกรณ์ที่เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เข้าสายเคเบิ้ล
เพียงเส้นเดียว ไม่มีในแบบขนาดไม่ใหญ่นัก   จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่าที่ได้ในเวลาหนึ่งๆ จะส่งพร้อมกันไม่ได้  วิธีการแบ่ง จะใช้ความถี่ในการแบ่ง
 เครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียกว่า บัส BUS

4. เครือข่ายแบบต้นไม้
    เป็นเครือที่ผสารกันโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี

การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 
  รูปแบบการใช้งาน 3 แบบ
1. ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง Centrallized Networks
 มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียว ประมวลผลกลางและมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ ใช้การเดินสายเคเบิ้ลเชื่อมต่อกันโดยตรง เทอร์มินอลสามมารถใช้งานได้ คำสั่งต่างๆมาประมวลผลที่เครื่องกลาง ซึ่งมีประสิทธิภาพสูง

2. ระบบเครือข่ายแบบ Peer-to Peer
    แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่ายนี้ จะมีความเท่าเทียมกันสามารถที่แบ่งปันทรัพยากรให้แก่กันและกันได้ เช่น ใช้เครื่องพิมพ์หรือแฟ้มข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย เครื่องแต่ละสถานีงานมีขีกความสามารถในการทำงานได้ด้วยตัวเอง

3. ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server
    ระบบนี้สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลุกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอรืได้หลายสถานี ทำงานโดยมีเครื่องเซอร์เวอร์ ให้บริการศูนย์กลางอย่างน้อย 1 เครื่อง
คาราไม่แพงมาก
ข้อเสีย คือ ติดตั้งยุ่งยาก







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น